รากที่ n ของจำนวนจริง
ในทาง
คณิตศาสตร์ รากที่ n ของจำนวน
x คือจำนวน
r ที่ซึ่งเมื่อยกกำลัง
n แล้วจะเท่ากับ
x นั่นคือ
-

ตัวแปร
n คือจำนวนที่ใส่เข้าไปเป็น
ดีกรีของราก โดยทั่วไปรากของดีกรี
n จะเรียกว่ารากที่
n เช่นรากของดีกรีสองเรียกว่า
รากที่สอง รากของดีกรีสามเรียกว่า
รากที่สาม เป็นอาทิ
ตัวอย่างเช่น
- 2 คือรากที่สองของ 4 เนื่องจาก 22 = 4
- −2 ก็คือรากที่สองของ 4 เช่นกันเนื่องจาก (−2)2 = 4
รากที่
n ของจำนวนหนึ่งอาจมีหลายคำตอบก็ได้และไม่จำเป็นต้องเป็น
จำนวนจริง
รากเหล่านี้โดยปกติเขียนแทนด้วยเครื่องหมาย
กรณฑ์ ซึ่งมีลักษณะดังนี้

โดยส่วนบนจะยาวคลุมตัวถูกดำเนินการโดยตลอด (เสมือนเป็น
วงเล็บในตัว) รากที่สองของ
x เขียนแทนด้วย

รากที่สามเขียนแทนด้วย
![\sqrt[3]{x}](https://upload.wikimedia.org/math/a/1/0/a10c7f2aa138b1565920d17c22062a35.png)
รากที่สี่เขียนแทนด้วย
![\sqrt[4]{x}](https://upload.wikimedia.org/math/d/c/3/dc3b0133777287c898c319e89db2c134.png)
เช่นนี้เรื่อยไป เมื่อจำนวนหนึ่งเขียนอยู่ภายใต้กรณฑ์ มันต้องให้ค่าออกมาเพียงค่าเดียวเหมือน
ฟังก์ชัน ดังนั้นรากที่เป็นจำนวนจริงไม่เป็นลบ ซึ่งเรียกว่า
รากที่ n มุขสำคัญ (principal
n-th root) จะเป็นจำนวนที่ถูกเลือกมากกว่ารากอื่น จำนวนติดกรณฑ์ที่ไม่ได้แจงค่าหรือหาค่ามิได้ บ่อยครั้งที่ถูกเรียกว่า
เสิร์ด (surd)
[1] หรือ
ราก (radical)
[2] ไปอย่างนั้น ในภาษาไทยนิยมเรียกสั้น ๆ ว่า
รูต (root)
อ่านเพิ่มเติม