รากที่ n ของจำนวนจริง
บทนิยาม ให้ a , b เป็นจำนวนจริง และ n เป็นจำนวนเต็มบวกที่มากกว่า 1
b เป็นรากที่ n ของ a ก็ต่อเมื่อ bกำลัง n = a
n เป็นจำนวนคู่
n เป็นจำนวนคี่
1. รากที่ n ของ a จะหาค่าได้ ก็ต่อเมื่อ a ≥เท่านั้น2. ถ้า a = o แล้ว รากที่ n ของ a = 03. ถ้า a > 0 แล้วรากที่ n ของ a จะมี 2 จำนวน จำนวนหนึ่งเป็นบวกและอีกจำนวนหนึ่งเป็นลบ
4. ถ้า a < 0แล้ว ไม่สามารถหารากที่ n ของ ได้ในระบบจำนวนจริง 1. รากที่ n ของ a จะหาค่าได้เสมอ สำหรับจำนวนจริง a ทุกจำนวน2. ถ้า a = o แล้ว รากที่ n ของ a = 03. ถ้า a > 0 แล้ว รากที่ n ของ a จะมีเพียงจำนวนเดียว และเป็นจำนวนจริงบวก
4. ถ้า a < 0 แล้ว รากที่ n ของ a จะมีเพียงจำนวนเดียว และเป็นจำนวนจริงลบ
วันพุธที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
วันอังคารที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2559
โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
จารณาเซตของสมาชิกตัวหน้า และเซตของสมาชิกตัวหลังในคู่อันดับของความสัมพันธ์เช่น
r = {(1,2),(2,4),(3,6),(4,8),(5,10)}
เซตของสมาชิกตัวหน้าในคู่อันดับของ r คือ {1,2,3,4,5} เรียกเซตของสมาชิกตัวหน้าในคู่อันดับของความสัมพันธ์ r ว่า โดเมน ของ r เขียนแทนด้วย และเซตของสมาชิกตัวหลังในคู่อันดับของ r คือ {2,4,6,8,10} เรียกเซตของสมาชิกตัวหลังในคู่อันดับของความสัมพันธ์ r ว่า เรนจ์ ของ r เขียนแทนด้วย อ่านเพิ่มเติม
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ในชีวิตประจำวันจะพบสิ่งที่มีความเกี่ยวข้องกันอยู่เสมอ เช่น สินค้ากับราคาสินค้าคนไทยทุกคนจะต้องมีเลขประจำตัวประชาชนเป็นของตนเอง ตัวอย่างที่กล่าวมาเป็นตัวอย่างที่แสดงความสัมพันธ์ของสิ่งสองสิ่งที่มาเกี่ยวข้องกันภายใต้กฎเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่ง สำหรับในวิชาคณิตศาสตร์มีสิ่งที่แสดงความสัมพันธ์ดังตัวอย่างต่อไปนี้ อ่านเพิ่มเติม
ในชีวิตประจำวันจะพบสิ่งที่มีความเกี่ยวข้องกันอยู่เสมอ เช่น สินค้ากับราคาสินค้าคนไทยทุกคนจะต้องมีเลขประจำตัวประชาชนเป็นของตนเอง ตัวอย่างที่กล่าวมาเป็นตัวอย่างที่แสดงความสัมพันธ์ของสิ่งสองสิ่งที่มาเกี่ยวข้องกันภายใต้กฎเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่ง สำหรับในวิชาคณิตศาสตร์มีสิ่งที่แสดงความสัมพันธ์ดังตัวอย่างต่อไปนี้ อ่านเพิ่มเติม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ
สำหรับเลขยกกำลังที่เป็นที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ ก็คือ เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นเศษส่วน เพราะจำนวนตรรกยะคือจำนวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนหรือทศนิยมซ้ำได้ อ่านเพิ่มเติม
รากที่ n ของจำนวนจริง
ในทางคณิตศาสตร์ รากที่ n ของจำนวน x คือจำนวน r ที่ซึ่งเมื่อยกกำลัง n แล้วจะเท่ากับ x นั่นคือ
ตัวแปร n คือจำนวนที่ใส่เข้าไปเป็นดีกรีของราก โดยทั่วไปรากของดีกรี n จะเรียกว่ารากที่ n เช่นรากของดีกรีสองเรียกว่ารากที่สอง รากของดีกรีสามเรียกว่ารากที่สาม เป็นอาทิ
ตัวอย่างเช่น
- 2 คือรากที่สองของ 4 เนื่องจาก 22 = 4
- −2 ก็คือรากที่สองของ 4 เช่นกันเนื่องจาก (−2)2 = 4
รากที่ n ของจำนวนหนึ่งอาจมีหลายคำตอบก็ได้และไม่จำเป็นต้องเป็นจำนวนจริง
รากเหล่านี้โดยปกติเขียนแทนด้วยเครื่องหมายกรณฑ์ ซึ่งมีลักษณะดังนี้ โดยส่วนบนจะยาวคลุมตัวถูกดำเนินการโดยตลอด (เสมือนเป็นวงเล็บในตัว) รากที่สองของ x เขียนแทนด้วย รากที่สามเขียนแทนด้วย รากที่สี่เขียนแทนด้วย เช่นนี้เรื่อยไป เมื่อจำนวนหนึ่งเขียนอยู่ภายใต้กรณฑ์ มันต้องให้ค่าออกมาเพียงค่าเดียวเหมือนฟังก์ชัน ดังนั้นรากที่เป็นจำนวนจริงไม่เป็นลบ ซึ่งเรียกว่า รากที่ n มุขสำคัญ (principal n-th root) จะเป็นจำนวนที่ถูกเลือกมากกว่ารากอื่น จำนวนติดกรณฑ์ที่ไม่ได้แจงค่าหรือหาค่ามิได้ บ่อยครั้งที่ถูกเรียกว่าเสิร์ด (surd)[1] หรือราก (radical) [2] ไปอย่างนั้น ในภาษาไทยนิยมเรียกสั้น ๆ ว่ารูต (root) อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)